.
ฐานข้อมูลขยะมูลฝอยชุมชนของไทย
Thailand’s Municipal Solid Waste Database
ข้อมูลขยะอาหารจากสถานที่กำจัดขยะ
สัดส่วนขยะอาหาร
ในภาพรวมของการสำรวจขยะที่แหล่งกำจัดขยะพบว่า แหล่งกำจัดขยะมีขยะเศษอาหารมีสัดส่วนคิดเป็น 25.19% โดยในฤดูฝนพบสัดส่วนขยะเศษอาหารคิดเป็น 22.42% และในฤดูแล้งพบสัดส่วนขยะเศษอาหารคิดเป็น 30.93% และผลการวิเคราะห์องค์ประกอบขยะประเภทเศษอาหารกินได้และกินไม่ได้ พบว่ามีปริมาณขยะประเภทเศษอาหารกินไม่ได้ 60.51% และปริมาณขยะประเภทเศษอาหารกินได้ 39.49%
แหล่งกำจัดขยะมีขยะเศษอาหารมีสัดส่วนคิดเป็น
โดย
0
ฤดูฝนพบสัดส่วนขยะเศษอาหารคิดเป็น
22.42%
ฤดูแล้งพบสัดส่วนขยะเศษอาหารคิดเป็น
30.93%
ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบขยะประเภทเศษอาหารกินได้และกินไม่ได้ พบว่ามี
ปริมาณขยะประเภทเศษอาหารกินไม่ได้
60.51%
ปริมาณขยะประเภทเศษอาหารกินได้
39.49%
เมื่อจำแนกสัดส่วนขยะเศษอาหารตามประเภทของแหล่งกำจัดขยะ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
- สถานที่กำจัดขยะประเภทการฝังกลบ มีสัดส่วนเศษอาหารเป็นองค์ประกอบ 21.64%
- สถานที่กำจัดขยะประเภทการเทกอง มีสัดส่วนเศษอาหารเป็นองค์ประกอบ 20.27%
- สถานที่กำจัดขยะประเภทเตาเผา มีสัดส่วนเศษอาหารเป็นองค์ประกอบ 18.81%
- สถานที่กำจัดขยะประเภทการหมักปุ๋ย มีสัดส่วนเศษอาหารเป็นองค์ประกอบ 60.19%
สัดส่วนขยะเศษอาหารตามประเภทของแหล่งกำจัดขยะ
คุณสมบัติทางเคมี
เศษอาหารรวมมีคุณลักษณะทางเคมีดังต่อไปนี้
ค่าความชื้น (Moisture content) เฉลี่ย 65.45%
(ฤดูฝน 66.77% และฤดูแล้ง 64.13%)
65.45%
ปริมาณอินทรีย์คาร์บอนทั้งหมด (Total Organic Carbon: TOC) เฉลี่ย 49.84%
(ฤดูฝน 42.81% และฤดูแล้ง 56.88%)
49.84%

Food Waste Hub เป็นความร่วมมือของสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
กรมควบคุมมลพิษและกลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย (Dow)
ที่เห็นความสำคัญของการจัดการขยะของประเทศด้วยนวัตกรรมฝีมือคนไทย


